วันพฤหัสบดีที่ 12 มกราคม พ.ศ. 2555

การเขียนรายงายเชิงวิชาการ


  แบบทดสอบก่อนเรียน
.
.
.
.
.
.
.
.
.
๑๐.

           กิจกรรมที่ ๑ : การเลือกเรื่องในการเขียนรายงานเชิงวิชาการ คิดสร้างสรรค์เรื่องที่จะเขียนรายงาน ขณะที่ศึกษา "ลิลิตตะเลงพ่าย" และ "มหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี" แล้ว ท่านว่า เรื่องใดที่น่าสนใจ อยากค้นคว้า อยากศึกษาให้ลึกซึ้ง เพื่อให้รู้จริง ตอบเฉพาะชื่อเรื่อง ในเวลา 3 นาที
ตอบ          ๑. พญาพาฬมฤคราช
                ๒.คำศัพท์ในเรื่องมหาเวสสันดรชาดก กัณฑ์มัทรี
                ๓. บุคลิกลักษณะของพระนางมัทรี
                ๔. สงครามยุทธหัตถี
                ๕. ศัตราวุธของพระเนเรศวร
                ๖.เครื่องแต่งกายในการออกรบของพระนเรศวร
.กิจกรรมที่ ๒ : การกำหนดทิศทางและขอบเขต คิดสร้างสรรค์เรื่องที่จะเขียนรายงาน ให้ท่านเลือกหัวข้อในกิจกรรมที่ 1 เพียงเรื่องเดียว แล้วฝึกเขียนจุดมุ่งหมาย พร้อมกำหนดขอบเขตของการศึกษา
จุดมุ่งหมาย  : เพื่อศึกษา คุณค่าของเรื่องลิลิตตะเลงพ่าย
          ขอบเขตของการศึกษา  : ในการศึกษาครั้งนี้ จะศึกษาจากหนังสือเรื่อง ลิลิตตะเลงพ่าย พร้อมทั้งหนังสือที่มีเนื้อหาเกี่ยวกับคุณค่าของเรื่องลิลิตตะเลงพ่าย
         กิจกรรมที ๓ : กำหนดรูปแบบวิธีการ และระบุแหล่งข้อมูล
คำสั่ง : จงอ่านข้อความต่อไปนี้ แล้วบันทึกโดยนำความรู้ที่ศึกษามาใช้ กำหนดรูปแบบ  วิธีการเอง และอย่าลืม ระบุแหล่งข้อมูลด้วย
ตอบ       สมเด็จฯกรมพระยาดำรงราชานุภาพ ทรงมีพระนิพนธ์ กล่าวถึงโลหปราสาท ไว้ว่า "โลหปราสาทนี้สมเด็จพระนั่งเกล้าอยู่หัว โปรดฯให้สร้างขึ้นเมื่อราวปีพุทธศักราช ๒๓๙๘ เหตุที่โปรดฯให้สร้างขึ้นนั้นเห็นจะเป็นเมื่อโปรดฯให้สร้าง วัดราชนัดดาราม พระราชทาน พระเจ้าลูกยาเธอพระองค์เจ้าโสมนัสวัฒนาวดีนั้นคงจะทรงพระราชดำริถึง พระเจดีย์ที่จะทรงสร้างประจำวัดอย่างที่พระราชดำริสร้างสำเภาวัดยานนาวา จึง โปรดฯให้สร้างโลหปราสาทแทนพระเจดีย์   โลหปราสาทวัดราชนัดดาราม ได้รับการบูรณะกันสืบต่อมา จึงยังอยู่ในสภาพสมบูรณ์ และสง่างามมากในทุกวันนี้นับเปนปูชนียสถานสำคัญมาแต่ต้นกรุงรัตนโกสินทร์ และที่สำคัญคือ เป็นโลหปราสาทที่เหลืออยู่เพียงองค์เดียวในโลกเท่านั้น
       แหล่งอ้างอิง :    สกุลไทย ปีที่ ๔๐ ฉบับที่ ๒๐๕๓ (อังคารที่ ๒๒ กุมภาพันธ์ ๒๕๓๗) : หน้า ๖๑

         กิจกรรมที่ ๔
.
.
.
.
.

         กิจกรรมที่ ๕
.
.
.
.
.

          กิจกรรมที่ ๖ : การเขียนบรรณานุกรม
คำสั่ง : จงพิจารณารายละเอียดต่อไปนี้แล้ว ทำกิจกรรมต่อไปนี้
       ๑.การจัดเรียงรายละเอียดในแต่ละกลุ่มไม่ถูกต้อง
ตอบ     , , , ,
       ๒. จงเรียงลำดับบรรณานุกรมแต่ละเล่มให้ถูกต้องโดยนำเสนอเฉพาะหมายเลข
              ๑. โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง , ร้อยกรอง สิทธา พินิจภูวดล , ประทัป    วาทิตทินทร นครหลวงกรุงเทพธนบุรี : ๒๕๑๖
                   ๒. "นิทานนานาชาติ" (๒๔ สิงหาคม ๒๕๒๓) บรรจบ พันธุเมธา สตรีสาร ๓๓
                   ๓. คู่มือเลี้ยงทารก กรุงเทพมหานคร : ๒๕๑๑ สมศิริ(นามแฝง) แพร่พิทยา
                   ๔. คู่มือเลี้ยงทารก กรุงเทพมหานคร : ๒๕๑๑ สมศิริ(นามแฝง) แพร่พิทยา
                   ๕. คึกฤทธิ์ ปราโมช , ม.ร.ว. "ซอยสวนพลู" ๗ (๒๗ กันยายน ๒๕๒๓) : สยามรัฐ
ตอบ   , , ,  ,

           แบบทดสอบหลังเรียน
.
.
.
.
.
.
.
.
.

วันพฤหัสบดีที่ 1 ธันวาคม พ.ศ. 2554

การเหนี่ยวนำ

การเหนี่ยวนำ
          เสียงเป็นคลื่นตามยาว   เสียงแหลมและทุ้มขึ้นกับความถี่  ส่วนสียงดังหรือค่อยขึ้นอยู่กับขนาดแอมพลิจูดของคลื่นนั้น   เราทราบกันดีอยู่แล้วว่า  ไมโครโฟนมีหน้าที่แปลงสัญญาณเสียงให้เป็นสัญญาณทางไฟฟ้า และนำสัญญาณที่ได้ไปบันทึกลงบนเทปคาสเซ็ท  แผ่น CD    หรือเครื่องเล่น MP3 ซึ่งกำลังฮิตกันอยู่ในปัจจุบัน  เมื่อเราต้องการจะนำเสียงที่บันทึกกลับออกมา   ภายในเครื่องเล่นเหล่านี้จะมีหัวอ่านคอยอ่านสัญญาณทางไฟฟ้าที่บันทึกอยู่ในเนื้อเทป  ซึ่งในขณะที่อ่านยังเป็นสัญญาณที่อ่อนมาก  จึงต้องนำเข้าเครื่องขยายสัญญาณก่อน เมื่อได้สัญญาณที่แรงพอแล้วจึงขับออกทางลำโพง กลายเป็นเสียงออกมา           
          ส่วนสำคัญที่สุดของเครื่องเล่นเหล่านี้ก็คือลำโพง  โดยหน้าที่สำคัญสุดของลำโพงคือ  เปลี่ยนสัญญาณทางไฟฟ้าที่ได้มาจากเครื่องขยายเป็นสัญญาณเสียง  ลำโพงที่ดีจะต้องสร้างเสียงให้เหมือนกับต้นฉบับเดิมมากที่สุด  โดยมีการผิดเพี้ยนน้อยที่สุด

 

เฮนรี่  เป็นชาวอเมริกัน  เกิดที่อัลบานี นิวยอร์ค  ครอบครัวย้ายมาอยู่ที่สก็อตแลนด์  ค.ศ.  1826  เป็นศาสตราจารย์ ด้านคณิตศาสตร์   และประวัติศาสตร์ที่อัลบานี  ค.ศ.  1832  สอนที่มหาวิทยาลัยปรินซ์ตัน  เฮนรี่เริ่มทำการค้นคว้าทดลองทางด้านวิทยาศาสตร์  ที่วอชิงตัน  เมื่อ ค.ศ.  1846  ผลงานของเขามีมากมาย  ได้แก่  การนำขดลวดพันรอบแกนเหล็กหลายๆ  แบบ  หลายๆรอบ  และเมื่อปล่อยกระแสไฟฟ้าเข้าไป ทำให้เเกิดอำนาจแม่เหล็กขึ้น  นอกจากนี้ยังประดิษฐ์เครื่องวัดไฟฟ้า  มอเตอร์กระดิ่งไฟฟ้า  และศึกษาเรื่องจุดดับและการแผ่รังสีของดวงอาทิตย์   หน่วยของตัวเหนี่ยวนำในวงจรไฟฟ้ากระแสสลับ  ใช้เป็น เฮนรี่ (H) ได้มาจากชื่อของนักวิทยาศาสตร์ผู้นี้     1  เฮนรี่  คือการเปลี่ยนแปลงของกระแสในอัตรา  1 A/s   และทำให้เกิดแรงดันไฟฟ้าต้านกลับ  1   โวลต์

มีคนจำนวนไม่น้อยที่รู้สึกพึงพอใจในเสียงที่ทุ้มนุ่มนวลของกระดิ่งไฟฟ้าสำหรับประตูมากกว่าเสียงที่กระด้างน่ารำคาญของกริ่งหรือออดไฟฟ้า  กระดิ่งไฟฟ้า แบบใหม่มักจะออกแบบให้เคาะส่งเสียงที่แตกต่างกัน 2 เสียงต่อเนื่องกันสำหรับประตูหน้าบ้าน (แบบที่มีความซับซ้อนมากกว่านี้ อาจทำให้เคาะส่งเสียงได้ถึง 4 เสียงหรือมากกว่าก็ได้ ) และเคาะส่งเสียงเพียง 1 เสียง สำหรับประตูหลังบ้านการเคาะส่งเสียงดังกล่าวเกิดจากการเคลื่อนที่ของแกนวิ่งของอุปกรณ์แม่เหล็กไฟฟ้าที่เรียกว่าขดลวดเหนี่ยวนำ
การต่อสายไฟในวงจรกระดิ่งไฟฟ้ามีลักษณะเหมือนกับการต่อสายไฟฟ้าของการใช้กริ่งและออดไฟ้ฟ้าร่วมกัน  คือจะใช้หม้อแปลงแรงดันไฟฟ้าเพียงตัวเดียว  เพื่อลดแรงดันไฟฟ้าบ้านลงก่อนจัดจ่ายให้กับกระดิ่งไฟฟ้า  แต่อย่างไรก็ตาม  เมื่อต้องการเปลี่ยนจากการใช้กริ่งและออดไฟฟ้าร่วมกันมาเป็นการใช้กระดิ่งไฟฟ้าเพียงตัวเดียวนั้น  ควรจะตรวจสอบแรงดันไฟฟ้าที่ตัวกระดิ่งใหม่ต้องการเสียก่อน  ซึ่งถ้าพบว่าหม้อแปลงแรงดันตัวเดิมจัดจ่ายแรงดันไฟฟ้าผิดไปจาก  ที่ตรวจสอบพบ  ก็จะต้องทำการเปลี่ยนหม้อแปลงใหม่ด้วย   
 กฎการเหนี่ยวนำของฟาราเดย์
       
         เลือก Faraday's Experiment I (การทดลองของฟาราเดย์ I) คุณสามารถใช้เคอร์เซอร์ จับคอยส์หรือแม่เหล็ก เคลื่อนที่ขึ้นหรือลงได้ ให้เปลี่ยนเคอร์เซอร์ไปที่แม่เหล็ก กดเมาส์ค้างไว้ แล้วจับแม่เหล็กใส่เข้าไปในขดลวด สังเกตดูว่า อะไรเกิดขึ้นกับกัลวานอมิเตอร์ ลูกศรสีเหลือง แสดงทิศทางของกระแสไฟฟ้าเหนี่ยวนำ อย่างไรก็ตามในรูป ไม่ได้แสดงว่าขดลวดหรือคอยส์พันอยู่ในลักษณะใด แต่ให้ใช้กฎของเลนส์ (Lenz's Law) ซึ่งอธิบายได้ว่า สนามแม่เหล็กเนี่ยวนำจะมีทิศทางตรงกันข้ามกับฟลักซ์ ต่อไปให้คุณเลื่อนแม่เหล็กออก และสังเกตดูว่ามีอะไรเกิดขึ้น และตอบคำถามว่าทำไมกระแสไฟฟ้าจึงกลับทิศทาง ทดลองหาความสัมพันธ์ว่ากฎของฟาราเดย์ขึ้นกับอัตราการเปลี่ยนแปลงของฟลักซ์หรือความเร็วของการเคลื่อนที่ขึ้นลงของแท่งแม่เหล็กหรือไม่ ในทางกลับกันให้ยกคอยส์ขึ้นหรือลงโดยกำหนดให้แท่งแม่เหล็กอยู่กับที่ และสังเกตว่าผลเหมือนเดิมหรือไม่

แหล่งอ้างอิง

http://www.rmutphysics.com/physics/oldfront/57/inductor%20faraday.htm
http://www.kmitl.ac.th/~ktbencha/project44/CAI/Electrostatics/Induction.html